ในปัจจุบันการโจมตีทางไซเบอร์เกิดขึ้นทั่วโลกทุกๆ 11 วินาที โดยมุ่งเป้าไปที่ทุกช่องทางตั้งแต่โครงสร้างพื้นฐานสำคัญระดับชาติไปจนถึงข้อมูลส่วนตัวที่ละเอียดอ่อน ผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมจาก ภัยไซเบอร์
อย่างที่ทุกคนทราบว่า กฎหมาย พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ PDPA ที่กำลังจะมีผลบังคับใช้ในเดือนมิถุนายน 2565 นี้ หลายองค์กร ยังมองเรื่องการทำ PDPA เป็นเรื่องของหน่วยงานไอที (IT) เพียงเท่านั้น
ปัจจุบัน ประเภทของ Cyber threats นั้นหลากหลาย มีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มปริมาณมากขึ้นตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และคงปฏิเสธไม่ได้ว่าเราอยู่ในช่วงเวลาที่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจกระทำผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก
ในปัจจุบันเราได้ยินข่าว “ข้อมูลรั่วไหล” หรือข้อมูลส่วนบุคคลหลุดออกไปสู่สาธารณะหรือไปอยู่ในมือของมิจฉาชีพ ทำให้เกิดความเดือดร้อนต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่เว้นเเต่ละวัน โดยมีอัตราการเกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง
วิทยาการอำพรางข้อมูล (Steganography) เป็นวิทยาการว่าด้วยการซ่อนข้อมูลภายในข้อมูลอื่น ๆ หรือซ่อนภายในวัตถุ (ทางกายภาพ) อื่น ๆ โดยหากใช้ร่วมกับ การเข้ารหัสลับก็จะเป็นวิธีการปกป้อง
จากหลายบทความที่เราได้นำเสนอในมุมขององค์กร ในการเตรียมตัวรับมือกับกฎหมาย PDPA วันนี้ เราจะมานำเสนอในมุมของประชาชนบ้าง ว่าเมื่อกฎหมาย PDPA ถูกนำมาใช้แล้ว ประชาชนคนทั่วไปนั้น จะได้ประโยชน์จากกฎหมายข้อนี้อย่างไรบ้าง