ในปัจจุบันเราได้ยินข่าว “ข้อมูลรั่วไหล” หรือข้อมูลส่วนบุคคลหลุดออกไปสู่สาธารณะหรือไปอยู่ในมือของมิจฉาชีพ ทำให้เกิดความเดือดร้อนต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่เว้นเเต่ละวัน โดยมีอัตราการเกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง
วิทยาการอำพรางข้อมูล (Steganography) เป็นวิทยาการว่าด้วยการซ่อนข้อมูลภายในข้อมูลอื่น ๆ หรือซ่อนภายในวัตถุ (ทางกายภาพ) อื่น ๆ โดยหากใช้ร่วมกับ การเข้ารหัสลับก็จะเป็นวิธีการปกป้อง
จากหลายบทความที่เราได้นำเสนอในมุมขององค์กร ในการเตรียมตัวรับมือกับกฎหมาย PDPA วันนี้ เราจะมานำเสนอในมุมของประชาชนบ้าง ว่าเมื่อกฎหมาย PDPA ถูกนำมาใช้แล้ว ประชาชนคนทั่วไปนั้น จะได้ประโยชน์จากกฎหมายข้อนี้อย่างไรบ้าง
วันนี้เราจะพูดกันในเรื่อง วิทยาการเข้ารหัสลับ หรือ Cryptography คือแนวทางปฏิบัติในการปกปิดข้อมูลโดยการแปลง plain text หรือ ข้อความธรรมดา ไปเป็น cipher text
ที่ผ่านมา หลายธุรกิจตื่นตัวในเรื่องข้อบังคับตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เนื่องจากมีบทลงโทษทางแพ่ง ทางอาญาและทางปกครองหลายประการสำหรับผู้ที่กระทำความผิดต่อการควบคุมข้อมูลของประชาชน
ในยุคดิจิทัลนี้ เราจะพบว่าผู้คนมากมายล้วนสามารถเข้าถึงการใช้อินเตอร์เน็ตได้เกือบทั่วทุกมุมโลกแล้ว ทำให้เป็นเรื่องยากมากที่จะหลีกหนีภัยอันตรายต่างๆที่แฝงมากับโลกไซเบอร์ โดยเหล่าแฮกเกอร์ มักโจมตีผ่านระบบที่เรียกว่า เว็บแอปพลิเคชั่น