ในปัจจุบันเราได้ยินข่าว “ข้อมูลรั่วไหล” หรือข้อมูลส่วนบุคคลหลุดออกไปสู่สาธารณะหรือไปอยู่ในมือของมิจฉาชีพ ทำให้เกิดความเดือดร้อนต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่เว้นเเต่ละวัน โดยมีอัตราการเกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง
วิทยาการอำพรางข้อมูล (Steganography) เป็นวิทยาการว่าด้วยการซ่อนข้อมูลภายในข้อมูลอื่น ๆ หรือซ่อนภายในวัตถุ (ทางกายภาพ) อื่น ๆ โดยหากใช้ร่วมกับ การเข้ารหัสลับก็จะเป็นวิธีการปกป้อง
จากหลายบทความที่เราได้นำเสนอในมุมขององค์กร ในการเตรียมตัวรับมือกับกฎหมาย PDPA วันนี้ เราจะมานำเสนอในมุมของประชาชนบ้าง ว่าเมื่อกฎหมาย PDPA ถูกนำมาใช้แล้ว ประชาชนคนทั่วไปนั้น จะได้ประโยชน์จากกฎหมายข้อนี้อย่างไรบ้าง
PDPA คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
โดย พ.ร.บ. นี้จะช่วยให้เกิดความปลอดภัยต่อข้อมูล ป้องกันการละเมิดสิทธิส่วนบุลคล
ซึ่งมีผลบังคับใช้ในภาคธุรกิจ
วันนี้เราจะพูดกันในเรื่อง วิทยาการเข้ารหัสลับ หรือ Cryptography คือแนวทางปฏิบัติในการปกปิดข้อมูลโดยการแปลง plain text หรือ ข้อความธรรมดา ไปเป็น cipher text
ที่ผ่านมา หลายธุรกิจตื่นตัวในเรื่องข้อบังคับตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เนื่องจากมีบทลงโทษทางแพ่ง ทางอาญาและทางปกครองหลายประการสำหรับผู้ที่กระทำความผิดต่อการควบคุมข้อมูลของประชาชน