ทุกวันนี้ความเสี่ยง (Risk) ของระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เนื่องจากระบบที่เราใช้อยู่ไม่ว่าจะเป็นค่าย Microsoft หรือค่าย Unix ตลอดจนระบบ Open Source ที่ใช้ Linux เป็นหลัก ล้วนมีช่องโหว่ (Vulnerability)
by A.Pinya Hom-anek, GCFW, CISSP, CISA ACIS Professional Team จากฉบับที่แล้ว เราได้เรียนรู้ลักษณะการทำงานและความแตกต่างของ IDS (Intrusion Detection System) และ IPS (Intrusion Prevention System) ตลอดจนข้อดีข้อเสียในการนำ IPS มาใช้งาน คำถามก็คือ แล้วเราควรจะใช้ IDS หรือ IPS ดี บางองค์กรมีการติดตั้งเฉพาะ Firewall โดยยังไม่มีการติดตั้ง IDS เลยด้วยซ้ำไป […]
นับตั้งแต่นาย Robert T. Morris นักศึกษามหาวิทยาลัย Cornell ได้ทำการปล่อย “หนอนอินเทอร์เน็ต” ตัวแรกของโลกที่ทำให้อินเทอร์เน็ตปั่นป่วนไปทั่วอเมริกาในปี 1988 ซึ่งกลายเป็นต้นแบบของ
เทคนิคการเจาะ Web Application ของเหล่า Hacker นั้น มีหลายวิธีดังที่ได้กล่าวไปแล้วในฉบับก่อนหน้านี้ เช่น “Hidden Manipulation” และ “Cookie Poisoning” เป็นต้น อีกเทคนิคที่ Hacker ชอบใช้เป็นประจำ
ทุกท่านคงคุ้นเคยกับ “IDS” (Intrusion Detection System) ซึ่งในประเทศไทยเวลานี้ องค์กร ใหญ่ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้มีการติดตั้ง IDS เพิ่มเติมความแข็งแกร่งให้กับระบบ Information Security ขององค์กร
Web Site ของภาครัฐนั้นถูก Hacker บุกถล่มและเข้ามาแก้ไขข้อมูลกันอย่างง่ายดาย หลายๆ คน คิดว่า Hacker ต้องมีความรู้ความสามารถขั้นสูง ซึ่งอาจเป็น Hacker ต่างประเทศระดับปรมาจารย์