ปัจจุบัน ประเภทของ Cyber threats นั้นหลากหลาย มีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มปริมาณมากขึ้นตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และคงปฏิเสธไม่ได้ว่าเราอยู่ในช่วงเวลาที่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจกระทำผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก
ในปัจจุบันเราได้ยินข่าว “ข้อมูลรั่วไหล” หรือข้อมูลส่วนบุคคลหลุดออกไปสู่สาธารณะหรือไปอยู่ในมือของมิจฉาชีพ ทำให้เกิดความเดือดร้อนต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่เว้นเเต่ละวัน โดยมีอัตราการเกิดความเสียหายอย่างต่อเนื่อง
วิทยาการอำพรางข้อมูล (Steganography) เป็นวิทยาการว่าด้วยการซ่อนข้อมูลภายในข้อมูลอื่น ๆ หรือซ่อนภายในวัตถุ (ทางกายภาพ) อื่น ๆ โดยหากใช้ร่วมกับ การเข้ารหัสลับก็จะเป็นวิธีการปกป้อง
จากหลายบทความที่เราได้นำเสนอในมุมขององค์กร ในการเตรียมตัวรับมือกับกฎหมาย PDPA วันนี้ เราจะมานำเสนอในมุมของประชาชนบ้าง ว่าเมื่อกฎหมาย PDPA ถูกนำมาใช้แล้ว ประชาชนคนทั่วไปนั้น จะได้ประโยชน์จากกฎหมายข้อนี้อย่างไรบ้าง
PDPA คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
โดย พ.ร.บ. นี้จะช่วยให้เกิดความปลอดภัยต่อข้อมูล ป้องกันการละเมิดสิทธิส่วนบุลคล
ซึ่งมีผลบังคับใช้ในภาคธุรกิจ
วันนี้เราจะพูดกันในเรื่อง วิทยาการเข้ารหัสลับ หรือ Cryptography คือแนวทางปฏิบัติในการปกปิดข้อมูลโดยการแปลง plain text หรือ ข้อความธรรมดา ไปเป็น cipher text
ที่ผ่านมา หลายธุรกิจตื่นตัวในเรื่องข้อบังคับตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เนื่องจากมีบทลงโทษทางแพ่ง ทางอาญาและทางปกครองหลายประการสำหรับผู้ที่กระทำความผิดต่อการควบคุมข้อมูลของประชาชน
ในยุคดิจิทัลนี้ เราจะพบว่าผู้คนมากมายล้วนสามารถเข้าถึงการใช้อินเตอร์เน็ตได้เกือบทั่วทุกมุมโลกแล้ว ทำให้เป็นเรื่องยากมากที่จะหลีกหนีภัยอันตรายต่างๆที่แฝงมากับโลกไซเบอร์ โดยเหล่าแฮกเกอร์ มักโจมตีผ่านระบบที่เรียกว่า เว็บแอปพลิเคชั่น
Data Protection Officer หรือ DPO (เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ) คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลรักษาข้อมูลส่วนบุคคลทั้งหมดขององค์กรไม่ว่าจะเป็นทั้งข้อมูลส่วนบุคคลทั้งภายใน หรือภายนอก
Ethical Hacking การโจมตีอย่างมีจริยธรรม หรือเรียกอีกอย่างว่า (White-hat hacking) คือการใช้เทคนิคการโจมตีด้วยเหตุผลที่ดีและถูกกฎหมาย โดยปกติแล้วจะต้องได้รับอนุญาตจากเป้าหมายการโจมตี